คลิปการสอน – วิชาภาษาไทย เรื่องจากผาแต้ม…สู่อียิปต์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียน วิชาภาษาไทย เรื่องจากผาแต้ม…สู่อียิปต์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ลำนารายณ์ ลพบุรี
โดย : คุณครูณิชารัศม์ ฉัตรอัศรารุจน์
แผนการจัดการเรียน วิชาภาษาไทย เรื่องจากผาแต้ม…สู่อียิปต์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต์ ลำนารายณ์ ลพบุรี
โดย : คุณครูณิชารัศม์ ฉัตรอัศรารุจน์
แผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ระดับชั้นอนุบาลปีที่ 1 เรื่อง ไก่ “Chicken”
โรงเรียนซางตาครู้สคอนแวนท์ โดย : คุณครูเมตตา สถาพรศิริกุล
ถ้าใครเคยดูคุณครูฮาร์ดคอร์ ตอนนี้ ไม่ใช่ ถ้าใครคิดว่าเด็กอนุบาลในญี่ปุ่นไม่ต้องเรียนเขียนอ่าน ที่โรงเรียนนี้ไม่เหมือน ที่นี่สอนเด็กให้เป็นอัจฉริยะ ในทางของตัวเอง จนมีโรงเรียนอีกเกือบ 400 แห่งที่ขอหลักสูตรไปใช้บ้าง คุณก็สอนลูกให้เป็นอัจฉริยะได้
ภายใต้สถานการณ์ COVID 19 ทำให้การจัดการเรียนการสอนเปลี่ยนจากการนั่งเรียนในห้องเรียนไปเป็นรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอกจึงต้องสอดคล้องกับการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด
การเรียนรู้แบบ Micro-Learning สามารถเรียนรู้ได้ทุกเนื้อหาวิชาที่สนใจ ทำให้ได้ความรู้ใหม่ๆ สร้างแนวความคิดใหม่ เพื่อต่อยอดความรู้เดิมที่มีอยู่ สามารถสร้างสรรค์ผลงาน พัฒนานวัตกรรมใหม่ด้วยตนเอง ด้วยการประยุกต์ใช้ความรู้ใหม่ที่ได้เรียนรู้มา….
บางทีการมีสมรรถนะครบทุกด้านอาจจะไม่เป็นคุณกับใครก็ได้ ถ้าเขารวมกลุ่มกันใช้ความคิดที่ซับซ้อนสื่อสารกันอย่างมีประสิทธิภาพจนสามารถโจรกรรมได้ เราจึงต้องบอกเรื่องหนึ่งกับผู้ปกครองแล้วให้ผู้ปกครองฝึกฝน คือเรื่องการตัดสินใจอย่างมีจริยธรรม…
การเรียนรู้การทดลองวิทยาศาสตร์ เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้หรือการค้นคว้าหาคำตอบในสิ่ง ที่เด็กๆ อยากรู้หรือสงสัยด้วยวิธีการต่างๆ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่เด็กๆ ได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเอง …
รายงานฉบับนี้เป็นรายงานการวิจัยในโครงการ “ผลการทดลองใช้กรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับ
ประถมศึกษาปีที่ 4 – 6 สำหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ซึ่งเป็นการดำเนินงานศึกษาวิจัยโดยคณะ
ครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานเลขาธิการสภ าการศึกษา
“เรียนรู้อย่างมีความสุขเริ่มต้นด้วยความสัมพันธ์ที่ดี และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน” … การให้ความสำคัญกับสุขภาพจิตใจ และมุมมองที่ดีต่อการเรียนรู้อันเป็นรากฐานที่สำคัญ เปิดโอกาสให้นักเรียนจะได้พัฒนาความสามารถทางวิชาการตามความถนัดของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น…
การเรียนรู้เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง…เสริมพลังผู้เรียนทุกช่วงวัยที่ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบการศึกษาใด ให้สามารถเปลี่ยนแปลงตนเองและสังคมที่ตนอยู่ได้